คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
สาระการเรียนรู้กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นกาญจนบุรี: สะพานมอญ

ผู้สอน
นายจุมินทร์ วนิชกุล


ที่ตั้งและอาณาเขต

ชาวมอญ
อำเภอสังขละบุรี

ขนบธรรมเนียมชาวมอญ
อำเภอสังขละบุรี

ประวัติการก่อสร้าง

วิถีชีวิตชุมชน
สะพานมอญ

เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
สะพานมอญ

             หน้าหลัก


ใบงานเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่น: สะพานมอญ ชั้นประถมศึกษาที่ 6

ประวัติการก่อสร้างสะพานมอญ


แบบทดสอบเรื่องประวัติการก่อสร้างสะพานมอญ

คำสั่ง  ให้นักเรียนใช้เมาส์คลิก หน้าคำตอบที่ถูกที่สุด


1. ใครเป็นผู้ริเริ่มสร้างสะพานมอญ

ก. ชาวมอญ
ข. หลวงพ่ออุตตมะ
ค. นักท่องเที่ยว
ง. พระและชาวบ้าน

2. สะพานมอญมีความยาวทั้งสิ้นเท่าไร

ก. 850 เซนติเมตร
ข. 85 กิโลเมตร
ค. 85 เมตร
ง. 850 เมตร

3. ไม้ส่วนใหญ่มี่นำมาสร้างสะพานมอญจะเป็นไม้ประเภทใด

ก. ไม้ไผ่
ข. ไม้กระดาน
ค. ไม้แดง
ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ค

4. สะพานมอญมีชื่อเรียกเป็นอย่างทางการว่าอย่างไร

ก. สะพานหลวงพ่ออุตตมะ
ข. สะพานข้ามแม่น้ำแม่กลอง
ค. สะพานบาทเดียว
ง. สะพานอุตตมานุสรณ์

5. สะพานมอญเป็นสะพานไม้ข้ามแม่น้ำอะไร

ก. แม่น้ำซองกาเลีย
ข. แม่น้ำแม่กลอง
ค. แม่น้ำรันตี
ง. แม่น้ำแควใหญ่

6. สะพานมอญเป็นสัญลักษณ์ของอำเภออะไร

ก. อำเภอทองผาภูมิ
ข. อำเภอสังขละบุรี
ค. อำเภอไทรโยค
ง. อำเภอศรีสวัสดิ์

7. สะพานไม้ที่ยาวที่สุดในโลกได้แก่สะพานใด

ก. สะพานมอญ
ข. สะพานไม้อูเบ็ง
ค. สะพานพระรามเก้า
ง. สะพานเปรม ติณสูลานนท์

8. เมื่อปีใดที่เกิดมีมรสุมทำให้ฝนตกหนักติดต่อกันหลายวันจนทำให้สะพานมอญพังและขาด

ก. พ.ศ. 2554
ข. พ.ศ. 2555
ค.พ.ศ. 2556
ง. พ.ศ. 2557

9. สะพานมอญได้ติดเสาไฟเป็นรูปใดที่เป็นสัญลักษณ์ของชาวมอญ

ก. รูปหงส์
ข. รูปครุฑ
ค. รูปพระยานาค
ง. รูปพระนารายณ์

10. สะพานที่สร้างเสร็จเชื่อมต่อหมู่ 2 กับหมู่ 3 ของตำบลใดของอำเภอสังขละบุรีที่ใช้ประโยชน์จากการข้ามสะพานมอญมากที่สุด

ก. ตำบลสังขละบุรี
ข. ตำบลหนองลู
ค. ตำบลเกริงกระเวีย
ง. ตำบลหินดาด

ทบทวนบทเรียนเรื่องนี้ใหม่

 

 

ติดต่อสอบถามได้ที่ jommyzazy@hotmail.co.th
สงวนลิขสิทธิ์ © 2015
จัดทำเมื่อ สิงหาคม 2015