คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
สาระการเรียนรู้กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นกาญจนบุรี: สะพานมอญ

ผู้สอน
นายจุมินทร์ วนิชกุล


ที่ตั้งและอาณาเขต

ชาวมอญ
อำเภอสังขละบุรี

ขนบธรรมเนียมชาวมอญ
อำเภอสังขละบุรี

ประวัติการก่อสร้าง

วิถีชีวิตชุมชน
สะพานมอญ

เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
สะพานมอญ

             หน้าหลัก


ใบงานเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่น: สะพานมอญ ชั้นประถมศึกษาที่ 6

ชาวมอญในอำเภอสังขละบุรี


แบบทดสอบเรื่องชาวมอญในอำเภอสังขละบุรี

คำสั่ง  ให้นักเรียนใช้เมาส์คลิก หน้าคำตอบที่ถูกที่สุด


1.ถิ่นฐานเดิมของชนชาติมอญอยู่ในประเทศใด

ก. ไทย
ข. พม่า
ค. ลาว
ง. กัมพูชา

2. มอญ หรือ รามัญ เป็นหนึ่งในชนชาติที่เก่าแก่หรือไม่

ก. ใช่
ข. ไม่ใช่
ค. ถูกทั้งข้อ1และ2
ง. ถูกทุกข้อ

3. ชนชาติมอญ มีอีกชื่อหนึ่งเรียกว่าอะไร

ก. ไทยเดิม
ข. ไทยใหญ่
ค. รามัญ
ง. เขมร

4. ชนชาติใดที่พยายามทำลายชาติพันธุ์ของมอญ

ก. เขมร
ข. ลาว
ค. ไทย
ง. พม่า

5. ปัจจุบันชาวมอญได้กระจัดกระจายอยู่ในประเทศใดบ้าง

ก. ไทย
ข. พม่า
ค. ถูกทั้งข้อ1และ2
ง. ผิดทุกข้อ

6. ชาวมอญได้เข้ามาอยู่ในไทยตั้งแต่สมัยใดบ้าง

ก. กรุงศรีอยุธยา
ข. กรุงธนบุรี
ค. สมัยรัตนโกสินทร์
ง. ถูกทุกข้อ

7. ชาวมอญส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในจังหวัดทางภาคใด

ก. ภาคเหนือ
ข. ภาคตะวันตก
ค. ภาคกลาง
ง. ภาคใต้

8. ตำนานการสร้างเมืองของอาณาจักรมอญจึงเริ่มขึ้นที่ใด

ก. หงสาวดี
ข. กรุงเทพฯ
ค. ย่างกุ้ง
ง. สังขละบุรี

9. สัญลักษณ์ประจำชาติมอญ คืออะไร

ก. หงส์สีทอง
ข. ไก่ฟ้า
ค. เสือโคร่ง
ง. นกยูง

10. พื้นหลังในธงชาติมอญมีสีอะไร

ก. สีเขียว
ข. สีขาว
ค. สีน้ำเงิน
ง. สีแดง

ทบทวนบทเรียนเรื่องนี้ใหม่

 

 

ติดต่อสอบถามได้ที่ jommyzazy@hotmail.co.th
สงวนลิขสิทธิ์ © 2015
จัดทำเมื่อ สิงหาคม 2015