152 การรับรู้ความรู้สึก การเคลื่อนไหว อารมณ์ แรงขับทางสรีระ
152.1 การรับรู้ความรู้สึก
152.14 การับรู้ทางการมองเห็น
152.142 การรับรู้เกี่ยวกับระยะทาง ระยะห่าง
ความรวดเร็วในการรมองเห็น
การรับรู้ รูปแบบที่เห็น การรับรู้การเคลื่อนไหว
152.143 การรับรู้ความสว่าง
152.145 การรับรู้ความเป็นสี
152.148 ภาพลวงตา
152.15 การรับรู้ทางประสาทหู
152.152 การรับรู้ระดับเสียงสูงต่ำ
152.154 การรับรู้ความดังของเสียง
152.157 การรับรู้คุณลักษณะน้ำเสียง
152.18 การรับรู้อื่นๆ
152.182 การรับรู้ทางผิวหนัง การรับรู้ความดัน การรับรู้จั๊กจี้
152.1822การรับรู้เกี่ยวกับอุณหภูมิ ความร้อน ความเย็น
152.1823 การรับรู้ความดัน การสั่นสะเทือน
152.1824<การรับรู้ความเจ็บปวด
152.188 การรับรู้ของเนื้อเยื่อในร่างกาย
152.1882 การรับรู้เรื่องทิศทาง การหมุนกลับตัว
152.1886 การรับรู้ความเหนื่อล้า ความหิวกระหาย
152.3 การเคลื่อนไหว กลไกลการเคลื่อนไหว
152.32 การเคลื่อนไหวโดยอัตโนมัติ
การเคลื่อนไหวโดยสัญชาตญาณ
ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกาย
152.33 การเคลื่อนไหวที่เป็นประจำ
เป็นนิสัย การเรียนรู้การเคลื่อนไหว
152.35 การเคลื่อนไหวที่จง ตั้งใจ
152.38 กลไกลเคลื่อนไหวหน้าที่ต่างๆ
152.382 กลไกลเคลื่อนไหวไปมา
152.384 กลไกลการแสดงออก เช่น
การแสดงออกทางเสียง การแสดงออกทางกราฟฟิก
152.385 กลไกประสานการเคลื่อนไหว
152.4 อารมณ์ และความรู้สึก
152.41 ความรู้สึกรัก ความรู้สึกผูกพัน
152.42 ความเบิกบานใจ ความรื่นรมย์ ความสุขใจ
152.43 ความเฉลียวฉลาด ความมีอารมณ์ขัน
152.46 ความกลัว ความกังวล
152.47 ความโกรธ ความขัดเคือง ความคับแค้น
152.48 ความอิจฉาริษยา
152.5 แรงขับทางกาย แรงจูงใจทางกาย
152.8 วิธีการศึกษาเรื่องจิต เช่น การศึกษาเชิงปริมาณ
การศึกษาความแตกต่าง การศึกษาช่วงเวลาที่ตอบสนอง
|