142 ปรัชญาเชิงวิพากษ์ (Crltlcal philosophy)
142.3 ปรัชญาเชิงวิพากษ์ตามแนวคามคิดของคานต์
(Immanuel Kant) นักปรัชญาชาวเยอรมัน
มีชีวิตระหว่าง ค.ศ. 1704-1804
คานต์ชอบตั้งคำถามเชิงวิพากษ์ เช่น
ธรรมชาติของโลกเป็นอย่างไร?
เรารู้เรื่องราวของโลกได้อย่างไร?
142.7 ปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology)
คือการศึกษาเกี่ยวกับประสาบการณ์ หรือ
การใช้วิธีการทางปรัชญา
บรรยายปรากฏการณ์ตามความรู้โดยตรง
ที่ได้จากปรากฏการณ์นั้น
142.78 อัตถิภาวนิยม(Existentialism)
คือทรรศนะทางปรัชญาที่ให้ความสำคัญแก่ปัจเจกภาพ
มากกว่าสากลภาพ เสรีภาพมากกว่าระเบียบกฏเกณฑ์
การสร้างสรรค์มากกว่าระเบียบ
แบบแผน ความรู้มากกว่าเหตุผล
และให้ความสำคัญแก่ความรู้เชิงอัตนัย
(Subjective knowledge)
เช่น ความรู้ที่เกิดจากการประสบด้วยตนเอง
มากกว่าความรู้เชิงปรนัย (Objective knowledge)
เช่น ความรู้ที่เกิดจากเหตุผล กล่าาวคือ
ถือว่าความรู้เชิงอัตนัยมีน้ำหนักมากกว่าความรู้เชิงปรนัย
|