ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
โครงการห้องสมุดโรงเรียนในฝัน

***ร่วมสร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาเด็กไทยในท้องถิ่น***


000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลปะ
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

   

ภาษาศาสตร์เบื้องต้น

410
ภาษาศาสตร์เบื้องต้น

ผู้แต่ง: จินดา เฮงสมบูรณ์
ชื่อเรื่อง: ภาษาศาสตร์เบื้องต้น

สรุปเนื้อหา

ความหมายของภาษาสาสตร์ คือ การศึกษาภาษาตามแนววิทยาศาสตร์กล่าวคือ นักภาษาสาสตร์จะทำการศึกษภาษาตามข้อมูลที่ปรากฏจริง การศึกษาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์อย่างมีขั้นตอน
ขั้นตอนในการศึกษาภาษาศาสตร์ ซึ่งมี 5 ขั้นตอน
1. ขั้นตั้งปัญหา
2. ขั้นวางสมมุติฐาน
3. ขั้นรวบรวมข้อมูล
4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
5. ขั้นสรุปผล
ภาษาศาสตร์ เป็นการศึกษาภาษาเชิงวิเคราะห์ค้นคว้า พยายามที่จะตอบคำถามต่าง ๆ เกี่ยวกับภาษา เช่น ภาษามีส่วนประกอบอะไรบ้าง ส่วนประกอบของภาษามีความสัมพันธ์กันอย่างไร มนุษย์เรียนภาษาอย่างไร ภาษามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ฯลฯ คำถามเกี่ยวกับภาษานี้มีมากมาย ด้วยเหตุนี้การศึกษาภาษาศาสตร์จึงแบ่งออกได้หลายแนวความคิด หลายแขนง
ขอบข่ายของการศึกษาภาษาศาสตร์
การศึกษาภาษาศาสตร์ในปัจจุบันมีทั้งการศึกษาภาษาล้วน ๆ และการศึกษาภาษาในด้านที่สัมพันธ์กับศาสตร์อื่น ๆ เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา คณิตศาสตร์ ฯลฯ อาจกล่าวได้ว่า วิชาภาษาศาสตร์แบ่งออกเป็น 3 สาขา ดังต่อไปนี้
1. ภาษาศาสตร์ทั่วไป (General Linguistics)
2. ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและเปรีบเทียบ (Historical and Comparative Linguistics)
3. ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics)

ที่มา:

จินดา เฮงสมบูรณ์. (2542). ภาษาศาสตร์เบื้อง

ต้น.กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

 


Copyright
All copyright rights in the Dewey Decimal Classification system are owned by OCLC. Dewey, Dewey Decimal Classification, DDC and WebDewey are registered trademarks of OCLC
Revised:September 2010


Send comments to Chumpot@hotmail.com