banner.gif
***สร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาท้องถิ่น***

000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลป
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

คำบรรยายวิชาหลักภาษา พ.ม.

492.9111
ภาษาทมิฬ

ผู้แต่ง: เฉลิม จันปฐมพงศ์
ชื่อเรื่อง: คำบรรยายวิชาหลักภาษา พ.ม.

สรุปเนื้อหา

ภาษาทมิฬ
ชนชาติทมิฬ หมายถึงชนชาติที่อยู่เมืองโจฬะทางงอินเดียตอนใต้หรือในเกาะลังกาบางที่เราเรียกว่า พวกสิงหล มีความสัมพันธ์กับบชชชนนชชชชาาตติไทยมาช้านาน ชื่อจังหววัดในภาคใต้ เช่น พัทลุง ทมิฬเรียกว่า "พัททะละ" และตำบล "ลำปปปำ" ทมมิฬเรียก "สลาปำ" ทั้ง 2 ชื่อนี้เป็นชื่อตำบลที่อยู่ในเมืองสิงหล บ้าน "ท่าทหมิหรำ" ชื่ออยู่ในตัวเมืองพัทลุงก็น่าจะมาจาก "ทมิฬคราม" ซึ่งแปลว่า นิคามของชาววทมิฬ "บางงติหรัม" เป็นบ้านที่ตั้งปากน้ำตรังก็น่าจะมาจาก Tiram อ่นว่า theerum แปลว่า ฝังน้ำ
ตัวอย่างภาษาทมิฬที่ใช้ในภาษาไทย
แกงกะหรี่ = Kari อ่านเป็น Kurry
กำมะหยี่ = Kambali = ผ้าขนหนู
สีชมพู่ = Civappu อ่านว่า Shivnppn แปลว่า "สีแดง"
ตานี = Tannir อ่านว่า Thun neer แปลว่า น้ำ, เย็น
วิไล = Vilai = คุณค่า, ราคา
อาจาด = Achad = ผักดอง (บางที่ชาวใต้เรียกว่า อาดจาด)
ยี่หร่า = Jira
สาเก = Sakki
กานพลู = Karampu (กรามปู)

ที่มา:

เฉลิม จันปฐมพงศ์. (2520). คำบรรยายวิชาหลักภาษา พ.ม. กรุงเทพฯ: ชัยสิริการพิมพ์.

 


Send comments to Chumpot@hotmail.com
Copyright © 2002
Revised:April 2002