ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
โครงการห้องสมุดโรงเรียนในฝัน

***ร่วมสร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาเด็กไทยในท้องถิ่น***


000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลปะ
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

   

ภาษาบาลี - สันสกฤต ในภาษาไทย

491
ภาษาบาลี - สันสกฤต ในภาษาไทย

ผู้แต่ง: สุภาพร มากแจ้ง
ชื่อเรื่อง: ภาษาบาลี - สันสกฤต ในภาษาไทย

สรุปเนื้อหา

ความแตกต่างของเสียงสระ ภาษาบาลีมีเสียงสระ 8 เสียง สันสกฤตมี 14 เสียง ส่วนเสียงสระในภาษาไทยมี 24 เสียง (ไม่นับสระเกินอีก 8 เสียง) ซึ่งซ้ำเสียงกับ สระบาลี - สันสกฤต ทั้งหมด และยังมีเกินกว่านั้นอีก 16 เสียง คือ มีเสียงสระเดี่ยวมากกว่า 10 เสียง ได้แก่ อึ อื เอะ เอ แอะ แอ เออะ เออ โอะ เอาะ ออ เสียงสระประสม 6 เสียง ด้แก่ เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว ทั้งนี้มีข้อสังเกต คือ สระ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ สันสกฤตเป็นสระเดี่ยว เอ โอ ไอ เอา บาลี - สันสกฤต เป็นสระประสม ส่วนภาษาไทย เอ โอ เป็นสระเดี่ยว ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา เป็นสระเกิน ความแตกต่างของการใช้สระ - ภาษาบาลีต้องลงท้ายด้วยเสียงสระเสมอ - ภาษาสันสฤตทั้งสระเดี่ยว และสระประสมมีพยัญชนะตามได้ทุกเสียง - ภาษาไทยทั้งสระเดี่ยว และสระประสมมีพยัญชนะตามได้ทุกเสียงเว้นเสียงสระเกิน อำ ไอ ใอ เอา ไม่สามารถตามด้วยเสียงพยัญชะได้ ความแตกต่างของพยัญชนะ ควมแตกต่างของพยัญชนะภาษาไทยกับภาษาบาลี - สันสกฤตนั้น แยกได้ 2 ด้าน คือ 1. ความแตกต่างทางเสียงพยัญชนะ 2. ความแตกต่างทางการใช้พยัญชนะ

ที่มา:

สุภาพร มากแจ้ง.(2535)ภาษาบาลี - สันสกฤต ในภาษาไทย.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

 


Copyright
All copyright rights in the Dewey Decimal Classification system are owned by OCLC. Dewey, Dewey Decimal Classification, DDC and WebDewey are registered trademarks of OCLC
Revised:March 2009


Send comments to Chumpot@hotmail.com