ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
โครงการห้องสมุดโรงเรียนในฝัน

***ร่วมสร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาเด็กไทยในท้องถิ่น***


000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลปะ
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

   

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม INDUSTRIAL ECONOMICS

338
ความหมายและขอบเขตวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม

ผู้แต่ง: พัชรินทร์ ภู่อภิสิทธิ์
ชื่อเรื่อง: เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม INDUSTRIAL ECONOMICS

สรุปเนื้อหา

อุตสาหกรรมเป็นหน่วยผลิตที่ทำหน้าที่ในการผลิตสินค้าและบริการออกจำหน่ายเป็นจำนวนมากและใช้เงินลงทุนสูง การตัดสินใจจัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรม การตัดสินใจทางด้านการผลิต การตั้งราคา การจำหน่าย การแข่งขัน การส่งเสริมการจำหน่ายเป็นสิ่งสำคัญ อย่างยิ่งการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตไปผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตที่มีอยุ่อย่างจำกัดไปใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อจัดสรรและกระจายสินค้า ให้แก่ผู้บริโภค การดำเนินการอุตสาหกรรมจึงต้องอาศัยหลักวิชาทางเศรษฐศาสตร์เข้ามาช่วยวิเคราะห์ เพื่อการตัดสินใจ การพยากรณ์ การวางนโยบาย และการแก้ปัญหาต่างๆ ในอุตสาหกรรม ดั้งนั้นวิชาเศรษฐศาสตร์จึงมีความสำคัญต่ออุตสาหกรมมอย่างมาก
วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม เป็นการนำเอาหลักทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นแขนงหนึ่งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญ Martin ให้ความหมายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมว่า "เป็นการศึกษาถึงช่องทางที่พลังทางเศรษฐศาสตร์ดำเนินการในสาขาอุตสาหกรรม" นักวิชาการบางท่านได้ให้คำจำกัดความของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมว่า "เป็นวิชาที่ศึกษาถึงมุมมองต่างๆ ทางเศรษฐศาสตร์ต่ออุตสาหกรรม ต่อตลาดและวิสาหกิจ

ที่มา:

พัชรินทร์ ภู่อภิสิทธิ์. (2545). เศรษฐศาสตร์

อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :
ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

 


Copyright
All copyright rights in the Dewey Decimal Classification system are owned by OCLC. Dewey, Dewey Decimal Classification, DDC and WebDewey are registered trademarks of OCLC
Revised:March 2009


Send comments to Chumpot@hotmail.com