banner.gif
***สร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาท้องถิ่น***

000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลป
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

ทฤษฎีการจูงใจ

153.852 ด422ท
ทฤษฎีการจูงใจ

ผู้แต่ง: ดารณี พานทอง พาลุสุข
ชื่อเรื่อง: ทฤษฎีการจูงใจ

สรุปเนื้อหา

153.852 ด422ท
ทฤษฎีการจูงใจ THEORY OF PERSUASION

ผู้แต่ง:ดารณี พานทอง พาลุสุข.
ชื่อเรื่อง:ทฤษฎีการจูงใจ THEORY OF PERSUASION

สรุปเนื้อหา

พฤติกรรมมนุษย์กระทำขึ้นทุกอย่างย่อมมีสาเหตุ สาเหตุดังกล่าวคือสิ่งเร้า เมื่อสิ่งเร้าเหล่านั้นได้มากระทบกับร่างกาย โดยอวัยวะสัมผัสต่างๆ อวัยวะรับสัมผัสนั้นก็จะส่งความรู้สึกมายังระบบประสาท ระบบประสาทจะทำการตีความและสั่งการมายังอวัยวะ กล้ามเนื้อ หรือต่อมต่างๆ เพื่อให้เกิดการกระทำหรือปฏิกิริยาต่างๆ ออกมาเป็นการแสดงการตอบสนอง หรือที่เรียกว่า การเกิดพฤติกรรมนั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาถึงพฤติกรรมของบุคคลนั้น เราพบว่า แม้ว่าจะมีสิ่งเร้าที่เหมือนๆ กันมากระทบกับบุคคล แต่ปฏิกิริยาที่ตอบรับออกมาอาจไม่เหมือนกัน ทั้งนี้เพราะคนมีลักษณะพื้นฐานด้านต่างๆ ไม่เหมือนกัน การคาดคะเนปฏิกิริยาตอบสนองให้ถูกต้องจึงทำได้ยากมากแต่สิ่งที่เป็นที่ยอมรับอยู่ในขณะนี้ก็คือ ถ้าบุคคล มีทัศนะคติหรือความเชื่อที่ดีต่อสิ่งใดแล้ว พฤติกรรมที่แสดงออกต่อสิ่งนั้น จะมีแนวโน้มที่จะเป็นไปในทางที่น่าพอใจด้วย การศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ จะเป็นหนทางนำไปสู่ความกระจ่างที่จะนำไปรู้จักรายละเอียดต่างๆ ในตัวมนุษย์ได้ดียิ่งขึ้น และเนื่องจากการจูงใจเป็นความพยายามในอันที่จะเปลี่ยนแปลง ความเชท่อ ค่านิยม ทัศนคติ และความรู้สึก รวมไปถึง การกระทำของบุคคลด้วยจุดมุ่งหมายที่ว่าจะให้บุคคลมีพฤติกรรมไปในทางที่ต้องการ การศึกษาถึงเรื่องของพฤติกรรมจึงเกิดขึ้น

ที่มา :

ดารณี พานทอง พาลุสุข. (2532).

ทฤษฎีการจูงใจ THEORY OF PERSUASION. กรุงเทพฯ:
ประชาชน , หน้า322.

 


Send comments to Chumpot@hotmail.com
Copyright © 2002
Revised:April 2002