|
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กฤติยา อัตถากร. (2528, กรกฎาคม). ระบบสารนิเทศ
และบริการ. วารสารวิทยบริการ, 7, 26-31.
กองบรรณาธิการ. (2531, ตุลาคม-ธันวาคม). นิวเทค.
สนเทศสาส์น, 1, 56-64.
กัลยา จยุติรัตน์ และคนอื่น ๆ. (2531). การทำบัตรรายการ
โสตทัศนวัสดุ (Cataloguing of
Audiovisual Materials). พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: คณะทำงานกลุ่มโสตทัศนศึกษา
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา.
การสื่อสารแห่งประเทศไทย. (2531). กองเทเล็กซ์.
Message Handling System (MHS).
ใน วันสื่อสารแห่งชาติ 2531(หน้า 116-121).
กรุงเทพมหานคร: วิสคอม เซ็นเตอร์.
------. (2531). กองโทรคมนาคมในประเทศไทย. Fiber Optic.
ใน วันสื่อสารแห่งชาติ 2531(หน้า 122-124).
กรุงเทพมหานคร: วิสคอม เซ็นเตอร์.
------. (2531). กองโทรเลข. บริการโทรเลขยุคคอมพิวเตอร์. ใน
วันสื่อสารแห่งชาติ 2531(หน้า 104-108).
กรุงเทพมหานคร: วิสคอม เซ็นเตอร์.
เกื้อกูล คุปรัตน์ และคนอื่น ๆ. (2520). โสตทัศนศึกษา
(Audio Visual Education). กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
คมนาคม, กระทรวง. (2530). วันสื่อสารแห่งชาติ.
กรุงเทพมหานคร: กรมไปรษณีย์โทรเลข กระทรวงคมนาคม.
จรูญ โฆษณานันท์. (2521). โทรคมนาคม. ใน สารานุกรมไทย
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (เล่ม 14, หน้า 8880-8883).
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระจันทร์.
จังหวัดกาญจนบุรี, สำนักงาน. (2532). ขอให้ส่งข้อมูลเพื่อ
บันทึกเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์. หนังสือราชการที่
กจ 0015.2/4956 ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2532.
จารุวรรณ สินธุโสภณ. (2521). วิทยานุกรม
บรรณารักษศาสตร์ (A Cyclopedia of
Librarianship). กรุงเทพมหานคร:
สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
จินดารัตน์ โกสุวรรณ. (2530). ก่อนตัดสินใจใช้บริการออนไลน์.
ชมรมนิสิตวิชาบรรณารักษศาสตร์จุฬาฯ, 7,11-16 .
จีราภรณ์ รักษาแก้ว. (2529). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์.
ใน ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (หน่วยที่ 1-8,
หน้า 141-186). กรุงเทพมหานคร:
อรุณการพิมพ์.
จุมพจน์ วนิชกุล. (2520). การจัดดำเนินงานเพื่อใช้ประโยชน์
จากรูปภาพ และข้อเสนอแนะแก่ห้องสมุดในประเทศไทย.
วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต
แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. (2528).
บรรณารักษ์30. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
-------. (2520). ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ.
กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. (2529, ตุลาคม-ธันวาคม). ระบบเปิด
ของห้องสมุด. วารสารห้องสมุด, 30, 54-60.
ชนะ โศการักษ์. (2529). ศัพท์ไมโครคอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์การพิมพ์.
ชุติมา สัจจานันท์. (2523). การเลือกและการจัดหาวัสดุห้องสมุด.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สามเจริญพานิช.
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2526). เทคโนโลยีทางการศึกษา: หลักการ
และแนวปฎิบัติ. กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช.
ถวัลย์วงศ์ ไกรโรจนานันท์ และขจรศักดิ์ คันธพนิต.
(2532, มีนาคม 12). ไมโครคอมพิวเตอร์ภาษาพม่า.
มติชน, หน้า 10.
ทักษิณ ชินวัตร เคลียร์วิว เปิดสงครามชิง
เคเบิล ทีวี. (2532, พฤษภาคม 1-7).
ผู้จัดการ, หน้า 29-30, 43.
ทักษิณา สวนานนท์. (2530). คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา.
กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว.
-------- . (2527). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์.
กรุงเทพมหานคร: มีเดีย แอสโซซิเอตเต็ด.
ทัศนาภรณ์ คทวณิช. (2528, กรกฎาคม). บริการข้อสนเทศทันสมัย
(Current Awareness). วิทยบริการ,7, 99-107.
ธารา กนกมณี. (2529). หมายเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร. ใน
มาตรฐานเพื่อพัฒนาบริการ ห้องสมุด(หน้า 163-177).
กรุงเทพมหานคร: สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
ณรงค์ ป้อมบุปผา. (2528). การจัดหมู่และทำบัตรรายการ
วัสดุห้องสมุด. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม.
------. (2530). การสืบค้นและเรียกใช้สารนิเทศใน
ระบบออนไลน์เชิงพาณิชย์: Online Searching.
มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม.
------. (2531). ฐานข้อมูลจาก CD-Rom: Online
Search ฉบับกระเป๋าและประหยัด. ใน ชาวบรรณ '30
(หน้า 27-31). มหาสารคาม:
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม.
ณรงค์ สมพงษ์. (2530). สื่อเพื่องานส่งเสริมเผยแพร่.
กรุงเทพมหานคร: สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นงลักษณ์ ไม่หน่ายกิจ. (2524). การศึกษาวิชาสารนิเทศศาสตร์
ณ มหาวิทยาลัยพิทสเบอร์ก. ชมรมนิสิตวิชาบรรณารักษศาสตร์
จุฬาฯ, 1, 43-52.
------. (2526, มกราคม-มีนาคม). บริการสนเทศ: ความหมาย
และประเภท. วารสารห้องสมุด, 27,17-23.
------. (2526). บริการสนเทศระบบออนไลน์. ใน บรรณารักษ์
นักเขียน(หน้า 115-142). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
------. (2529). มหาวิทยาลัยบรรณารักษศาสตร์และ
สารนิเทศศาสตร์. ชมรมนิสิตวิชาบรรณารักษศาสตร์
จุฬาฯ, 6, 62-72.
------. (2531). สารนิเทศศาสตร์: พัฒนาการ ความหมาย
และขอบเขต. ใน สารนิเทศศาสตร์: เอกสารประกอบ
การสัมมนา (หน้า 295-309). กรุงเทพมหานคร:
วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
นงลักษณ์ สุวรรณกิจ. (2528, กันยาน-ธันวาคม). วัสดุย่อส่วน
กับงานห้องสมุด: ข้อพิจารณาบางประการ. ช.บ.อ.สาร, 5,1-7.
นวนิตย์ อินทรามะ. (2518). บริการข้อสนเทศและห้องสมุด.
ใน บรรณารักษ์ 20 (หน้า 66-82).
กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บาร์เนตต์, วี. (2532). การใช้เทคโนโลยีระบบสารนิเทศ
ในมหาวิทยาลัย. จุฬาวิจัย, 8,5.
บุญเริง แก้วสะอาด. (2528, กรกฎาคม-กันยายน). โทรเลข
โทรพิมพ์ โทรภาพ. วารสารศูนย์บริการบริภัณฑ์เพื่อการศึกษา,
9, 11-25.
แบดแฮม,พอล. (2531, มิถุนายน). ข้อคิดจากประสบการณ์
ใกล้ความตายและการเกิดใหม่. แปลโดย พระประชา ปสันนธัมโม
สมาธิ, 3, 38-45.
โบว์, อะมาดู-มาห์ตาร์ เอ็ม. (2528). กำเนิดอนาคต แปลและ
เรียบเรียงจาก Where the future begins โดย บันดาล.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พิฆเณศ.
ประทุม ฤกษ์กลาง. (2531). เทคโนโลยีเพื่อการประชาสัมพันธ์.
ใน วันสื่อสารแห่งชาติ 2531(หน้า 30-40). กรุงเทพมหานคร:
วิสคอมเซ็นเตอร์.
ประภาวดี สืบสนธิ์. (2530, กรกฎาคม). การแบ่งกลุ่มผู้ใช้
และประสิทธิภาพการให้บริการ. วารสารวิทยบริการ,
9, 30-40.
ประสิทธิ์ ประพิณมงคลการ และ ณรงค์ อยู่ถนอม. (2531).
วิจัยเทคโนโลยีการสื่อสาร. ใน วันสื่อสารแห่งชาติ 2531
(หน้า 130-135). กรุงเทพมหานคร: วิสคอมเซ็นเตอร์.
พรทิพย์ ดีสมโชค. (2531). เทคโนโลยีเพื่อการกระจายเสียง
และการแพร่ภาพ. ใน วันสื่อสารแห่งชาติ 2531(หน้า 46-54).
กรุงเทพมหานคร: วิสคอมเซ็นเตอร์.
พรรณพิมล กุลบุญ. (2523). โสตทัศนวัสดุและอุปกรณ์
ในห้องสมุด. กรุงเทพมหานคร: คณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พลับพลึง มูลศิลป์. (2523). ความสัมพันธ์ไทย - ฝรั่งเศส
สมัยอยุธยา. กรุงเทพมหานคร: บรรณกิจ.
พวงเพ็ญ พงศ์ธนสาร. (2539). เครื่องโทรสาร
(Telefacsimile Equipment). ชมรมนิสิตวิชา
บรรณารักษศาสตร์จุฬาฯ, 6, 1-16.
พิจิตร รัตตกุล. (2531). โครงการแห่งชาติ. ใน สู่อนาคต
ด้วยพันธุวิศวกรรม และ เทคโนโลยีชีวภาพ โลหะ
และวัสดุ อิเล็กทรอนิกส์ และ คอมพิวเตอร์(หน้า 11-19).
กรุงเทพมหานคร: กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และ การพลังงาน.
พิชิต สุขเจริญพงษ์. (2539). การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วย
ในการตัดสินใจ. ในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(หน่วยที่9-15, หน้า 391-431). นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พิสิฐ เจริญวงศ์. (2532, มีนาคม). ศิลปะของอดีต.
พบโลก, 2, 81-85.
เพ็ญศรี ก๊วยสุวรรณ. (2529). การพัฒนาผู้ใช้. ใน
มาตรฐานเพื่อพัฒนาบริการห้องสมุด(หน้า 115- 139).
กรุงเทพมหานคร: สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
------. (2529, กรกฎาคม 11-17). ออปติคัลดิสก์ -
ความหวังใหม่ของห้องสมุด. สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสาร
และเหตุการณ์, 11, 783-784.
แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง. (2530). การประชุมระหว่างประเทศ
ว่าด้วยบรรณานุกรมแห่งชาติตามแผนงานควบคุม
บรรณานุกรมระหว่างชาติ. ใน รายงานการสัมมนา
เรื่องการกระจายสิ่งพิมพ์ให้ทั่วถึง(หน้า 1-27).
กรุงเทพมหานคร: กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร.
------. (2530). แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับการจัดระบบ
สารนิเทศแห่งชาติ. ใน การสร้างสังคมการอ่านและการใช้สารนิเทศ
(หน้า 201-204). กรุงเทพมหานคร: สมาคมห้องสมุด
แห่งประเทศไทย.
------. (2530). ระบบสารนิเทศแห่งชาติ. ใน การสร้างสังคม
การอ่านและการใช้สารนิเทศ(หน้า 88-100).
กรุงเทพมหานคร: สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
------. (2530). สรุปการสัมมนาระดับชาติเรื่อง นโยบาย
สารนิเทศแห่งชาติ. ใน การสร้างสังคมการอ่านและ
การใช้สารนิเทศ(หน้า 180-186). กรุงเทพมหานคร:
สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2530 ก). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2525. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
อักษรเจริญทัศน์.
------. (2531). ศัพท์บัญญัติพร้อมคำอธิบายจากพจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพมหานคร:
ธรรกมลการพิมพ์.
------. (2530 ข). ศัพท์บัญญัติวิชาถ่ายภาพฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
------. (2539). ศัพท์วิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร:
คุรุสภาลาดพร้าว.
รุ้งฟ้า ฐิโณทัย. (2524). บริการสาระสังเขปทางด้านวิทยาศาสตร์
และ เทคโนโลยีในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ระดับ
ปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท์. (2530, กันยายน-ธันวาคม).
CD-ROM: อดีตและปัจจุบัน. ช.บ.อ.สาร,
7, 14-32.
วลัยพร เหมะรัชตะ. (2528). ดรรชนี: ความหมาย
และประเภท. ใน บรรณารักษ์ 30(หน้า 60-81).
กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
------. (2531). ดรรชนี. ใน สารนิเทศศาสตร์:
เอกสารประกอบการสัมมนา(หน้า 63-91).
กรุงเทมหานคร: วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
วันชัย ศิริชนะ และ จรินทร์ เทศวานิช. (2530). รายงาน
ผลการวิจัยเรื่อง สถานภาพปัจจุบันของอุตสาหกรรม
การพิมพ์ไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2527). หนังสือและการพิมพ์.
ลพบุรี: วิทยาลัยครูเทพสตรีลพบุรี.
วิชัย ศังขจันทรานนท์. (2530). สิ่งประดิษฐ์จากพัฒนาการด้าน
คอมพิวเตอร์. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
(เล่ม11 หน้า 142-155).
วิภา อุตมฉันท์. (2531, ธันวาคม 11). โฉมหน้ายุคสังคมข่าวสาร.
มติชน, หน้า 5.
วิภาวรรณ มนุญปิจุ. (2531). ระบบการจัดการข้อมูล
และการเผยแพร่ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ใน
ประเทศไทย. (เอกสารประกอบการประชุมเชิง
ปฏิบัติการเรื่อง Information Management and
Modern Publishing: Implication for
Thailand ณ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย วันที่ 5-7 กันยายน 2531).
วิลเลียมส์, เฟรเดริค. (2529). ปฏิวัติการสื่อสาร.
แปลจาก The Communication Revolution
โดย สุรัตน์ นุ่มนนท์. กรุงเทพมหานคร: บรรณกิจ.
วิวัฒนาการของการสื่อสารโทรคมนาคม. (2529,
กุมภาพันธ์). ผู้จัดการ, 3,6-12.
วิศวกรรมกรรมสถานแห่งประเทศไทย. (2530). ศัพท์เทคนิค
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
------. (2531). ศัพท์เทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิสิทธิ์ จินตวงศ์. (2520). วารสาร. ใน
บรรณารักษศาสตร์ไทย(หน้า 255-299).
กรุงเทพมหานคร: สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
ศริณ. (2545, กรกฎาคม). มองด้วยตา เห็นด้วยใจ.
เพื่อนเดินทาง, 24:270, 199-204.
ศรีศักดิ์ จามรมาน. (2520). การใช้คอมพิวเตอร์ในงานสารนิเทศ.
(เอกสารประกอบการประชุม สามัญประจำปี สมาคม
ห้องสมุดแห่งประเทศไทย ณ หอประชุมกระทรวง
ศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร วันที่ 12 -16 ธันวาคม 2520).
------. (2532). การประยุกต์คอมพิวเตอร์. ใน
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน (เล่ม 11 หน้า 84-117).
กรุงเทพมหานคร:
ศิลปชัย พิชเยนทรโยธิน. (2531). สังคมข่าวสาร.
ใน วันสื่อสารแห่งชาติ 2531( หน้า 1-7).
กรุงเทพมหานคร: วิสคอมเซ็นเตอร์.
เศรษฐพร คูศรีพิทักษ์ และ พิทยาพล จันทนะสาโร. (2531).
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่กับผลกระทบต่อสังคม.
ใน วันสื่อสารแห่งชาติ 2531(หน้า 162-175).
กรุงเทพมหานคร: วิสคอมเซ็นเตอร์.
สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์. (2539, พฤษภาคม-มิถุนายน). ทางด่วน
ข้อมูล และ ยุทธศาสตร์แห่งอนาคตของสิงคโปร์.
วารสาร NECTEC, 62 -69.
สมควร กวียะ. (2529). แนวโน้มการสื่อสารในสังคมที่
ถูกกำหนดโดยเทคโนโลยี. ใน หลักสูตรและทฤษฎีการสื่อสาร
(หน่วยที่ 9-15, หน้า 914-924). กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
------. (2529). แนวโน้มการสื่อสารในอนาคต. ใน
หลักและทฤษฎีการสื่อสาร (หน่วยที่ 9-15, หน้า 907-972).
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สิทธิชัย ประสานวงศ์. (2526). ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น.
กรุงเทพมหานคร: ศูนย์อบรมคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. (2515). บรรณารักษศาสตร์เบื้องต้น.
พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
------. (2521). บรรณารักษ์ศาสตร์ภูมิหลัง.
กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
------. (2518). 20 ปี ของแผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2498-2518.
ใน บรรณารักษ์ 20(หน้า 1-15). กรุงเทพมหานคร:
กรุงสยามการพิมพ์.
สุธันนี่ กี่ศิริ. (2528, กรกฎาคม). บริการเลือกเผยแพร่
ข้อสนเทศ (SDI). วิทยบริการ, 7, 80-98.
สุนทร แก้วลาย. (2531). เทคโนโลยีสารนิเทศ. ใน
สารนิเทศศาสตร์: เอกสารประกอบ
การสัมมนา(หน้า 284-291). กรุงเทพมหานคร:
วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
------. (2521, ตุลาคม). สนเทศศาสตร์ในระบบ
สาขาวิชา. บรรณศาสตร์,1,3-31.
สุวรรณา ชัยจินดาสุต และอนงค์ คุปตระกูล. (2530).
นโยบายสารนิเทศแห่งชาติ กรณีเปรียบเทียบ
ระหว่างกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตกกับสหรัฐอเมริกา.
ชมรมนิสิตวิชาบรรณารักษศาสตร์จุฬาฯ,40-49.
สู่ยุคโฮมเธียเตอร์. (2532, มีนาคม 13-19).
ผู้จัดการ, หน้าพิเศษ 1-3.
ห้องสมุดแห่งประเทศไทย, สมาคม. (2530). โครงการระบบ
สารนิเทศแห่งชาติ. ใน แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง, (บก.).
การสร้างสังคมการอ่านและการใช้สารนิเทศ
(Towards Reading and Information
Society)(หน้า 190-204). กรุงเทพมหานคร:
สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
------. (2532). แผนการจัดหมู่ระบบทศนิยมและดรรชนี
สัมพันธ์ฉบับย่อเล่ม 1. กรุงเทพมหานคร:
สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
|
|