***เรียนให้สนุกในโลกแห่งสังคมข่าวสาร ไร้ขอบเขต ไร้พรมแดน***


ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น
รศ.จุมพจน์ วนิชกุล/ ผศ.ฟ้อน เปรมพันธ์/ ผศ.วิไลวรรณ สันถวะโกมล/
อาจารย์ราตรี แจ่มนิยม/ อาจารย์นงนุช ถ้วยทอง
โปรแกรมวิชาการศึกษาทั่วไป
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี


คำอธิบายรายวิชา/แนวการสอน
(Course Overview)

สารบัญเนื้อหาวิชา

กิจกรรมการเรียนการสอน

สื่อการสอน

การประเมินผล
(Evaluation)

ตำราประกอบการสอน
(Texts and Materials)

แหล่งทรัพยากรสารนิเทศอื่นๆ
(Other Useful Resources)

แหล่งทรัพยากรเกี่ยวกับ Internet
(Resources about the Internet and Its Tools)

ตำราและวารสารอิเล็กทรอนิกส์
(On-Line Journals and Magazines)

แบบฝึกหัด

เฉลยแบบฝึกหัด

บรรณานุกรม

โน้ตจากผู้สอน


Home

ประเภทของการสื่อสาร

การจําแนกประเภทของการสื่อสารสามารถจําแนกไดหลายลักษณะตามเกณฑและวัตถุ ประสงคที่จะนํามาพิจารณา โดยทั่วไปสามารถจําแนกประเภทของ การสื่อสารตามเกณฑตาง ๆ ดังนี้
1. จําแนกประเภทตามเกณฑจํานวนผูสื่อสาร จําแนกได 5 ประเภท คือ
1.1 การสื่อสารภายในตัวบุคคล เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นภายในตัวของบุคคล เดียว กลาวคือบุคคลเดียวทํา หนาที่เปนทั้งผูสงสารและผูรับสาร เชน การพูดกับตนเอง การรองเพลงฟงคน เดียว การฝกอานทํานอง เสนาะ การบันทึกอนุทิน เปนตน
1.2 การสื่อสารระหวางบุคคล เปนการสื่อสารที่มีบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไป สื่อสารกันโดยเปนทั้งผูสงและผู รับสลับกันไป การสื่อสารประเภทนี้ถือไดวาเปนการสื่อสารในลักษณะกลุมยอย ที่ทุกคนสามารถได แลกเปลี่ยนสารกันไดโดยตรง เชน การพูดคุยกัน การสอนหนังสือในกลุมยอย การประชุมกลุมยอย การเขียนจดหมายโตตอบกัน เปนตน
1.3 การสื่อสารกลุมใหญ เปนการสื่อสารกับคนจํานวนมากซึ่งอยูในที่เดียวกันหรือ ใกลเคียง สมาชิกใน กลุมไมสามารถทําหนาที่เปนทั้งผูสงสารและผูรับสารกันไดทุกคน เชน การบรรยายในที่ ประชุม การ สอนหนังสือในหองเรียน การกลาวคําปราศรัย การพูดหาเสียงเลือกตั้ง เปนตน
1.4 การสื่อสารในองคการ เปนการสื่อสารระหวางสมาชิกขององคการ หรือ หนวยงาน โดยเนื้อหาของสาร และวัตถุประสงคในการสื่อสารเปนเรื่องที่เกี่ยวกับภารกิจและงานขององคการ หรือหนวยงาน เชน การ สื่อสารในบริษัท การสื่อสารในหนวยราชการ การสื่อสารในโรงงานอุตสาหกรรม เปน ตน
1.5 การสื่อสารมวลชน เปนการสื่อสารที่มีไปยังประชาชนจํานวนมากพรอมกัน หรือ ในเวลาใกลเคียงกัน และอยูกระจัดกระจายกันในที่ตาง ๆ ดังนั้นการสื่อสารประเภทนี้จึงมีความซับซอน จํา เปนตองอาศัย สื่อที่เปนสื่อมวลชน คือ หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน และภาพยนต เปนเครื่องมือในการสื่อสาร
2. จําแนกประเภทตามเกณฑการใชภาษา จําแนกได 2 ประเภท คือ
2.1 การสื่อสารที่ใชภาษาถอยคํา หรือการสื่อสารเชิงวัจนภาษา ไดแก การสื่อสารที่ใช ภาษาพูดและภาษา เขียน เชน การพูดบรรยาย การอภิปราย การเขียนหนังสือ เปนตน
2.2 การสื่อสารที่ไมใชภาษาถอยคํา หรือการสื่อสารเชิงอวัจนภาษา ไดแก การสื่อสาร ที่ใชอากัปกริยาทา ทาง หรือสัญลักษณตาง ๆ เชน กริยาอาการ สิ่งของ เวลา รางกาย สถานที่ น้ําเสียง เปนตน
3. จําแนกประเภทตามเกณฑการเห็นหนากัน จําแนกได 2 ประเภท คือ
3.1 การสื่อสารแบบเผชิญหนา หรือการสื่อสารทางตรง เปนการสื่อสารที่ผูสงสาร และผูรับสารอยูใน ตําแหนงที่สามารถมองเห็นกัน โตตอบซักถามกันไดทันทีทันใด และมองเห็นอากัปกริยาซึ่ง กันและกัน ได เชน การสนทนากัน การเรียนการสอนในหองเรียน การประชุมสัมมนาเปนตน
3.2 การสื่อสารแบบไมเห็นหนา หรือการสื่อสารทางออม เปนการสื่อสารที่ผูสง สารอยูในตําแหนงที่ตางกัน ทั้งสถานที่และเวลาไมสามารถสังเกตกริยาทาทางของฝายตรงกันขามตองใชเครื่องมือเขามาชวย เชน หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน จดหมาย หนังสือพิมพ โทรเลข อินเตอรเน็ต เปนตน
4. จําแนกประเภทตามเกณฑความแตกตางระหวางผูรับสารกับผูสงสาร จําแนกได 3 ประเภท คือ
4.1 การสื่อสารระหวางเชื้อชาติ เปนการสื่อสารที่ผูสงสารและผูรับสารตางเชื้อชาติ กัน ดังนั้นการสื่อสาร ประเภทนี้ผูสงสารและผูรับสารตองศึกษาภาษา วัฒนธรรม ประเพณี คานิยม ของผูที่ตน เองสื่อสาร ดวย เชน ชาวไทยสื่อสารกับชาวอังกฤษ เปนตน
4.2 การสื่อสารระหวางวัฒนธรรม เปนการสื่อสารของคนตางวัฒนธรรมกัน ซึ่งผู สงสารและผูรับสารอาจ เปนคนในประเทศเดียวกัน พูดภาษาเดียวกัน เชน การสื่อสารระหวางคนไทยภาคกลาง กับภาคเหนือ คนไทยพื้นราบกับคนไทยถูเขา เปนตน
4.3 การสื่อสารระหวางประเทศ เปนการสื่อสารในระดับชาติ ผูสงสารและผูรับสาร จะตองปฏิบัติหนาที่ใน ฐานะเปนตัวแทนของชาติ การสื่อสารประเภทนี้มักเปนการสื่อสารที่เปนทางการ
5. จําแนกประเภทตามเกณฑลักษณะเนื้อหาวิชา จําแนกได 8 ประเภท คือ
5.1 ระบบขาวสาร เปนการสื่อสารที่เนนเอาสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับระบบขาวสาร นํา ไปประยุกตใชกับงาน ดานการกระจายขาว การสงขาว การนําขอมูลที่เก็บไวมาใช ตลอดจนการพัฒนาวิธี วิเคราะหระบบ ขาวสาร
5.2 การสื่อสารระหวางบุคคล เปนการสื่อสารที่มุงถึงทฤษฎีการสื่อสารใน สถานการณตาง ๆ ตั้งแตการสื่อ สารแบบตัวตอตัว การสื่อสารกลุมยอย ตลอดจนการสื่อสารกลุมใหญ
5.3 การสื่อสารมวลชน เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับอิทธิพลของสื่อมวลชน การแลกเปลี่ยนขาวสาร ระหวางประเทศโดยผานสื่อมวลชน
5.4 การสื่อสารการเมือง เปนการสื่อสารที่มีเนื้อหาไปในทางการเผยแพรขาวสารการ เมือง การประชา สัมพันธหาเสียง การเผยแพรความรูเกี่ยวกับระบบการเมือง การเลือกตั้งตลอดจนระบอบ การปกครอง
5.5 การสื่อสารในองคการ เปนการสื่อสารที่มีเนื้อหาใหทราบถึงประสิทธิผลของ การดําเนินงานในองคการ หรือหนวยงานทั้งในการบริหารและการจัดการ
5.6 การสื่อสารระหวางบุคคลหรือกลุมคนเปนการสื่อสารที่มีเนื้อหาการสื่อสารใน สถานการณตาง ๆ เชน การสื่อสารในกลุมยอย การสื่อสารเชิงอวัจนะ อิทธิพลทางสังคมของการสื่อสาร ลีลา ในการสื่อสาร การวิเคราะหปฏิสัมพันธ ความเขาใจในสารและความขัดแยงทางสังคม ซึ่งตองคํานึงถึงทฤษฎี และ พฤติกรรมทางวัฒนธรรมดวย
5.7 การสื่อสารการสอน เปนการสื่อสารที่มีเนื้อหามุงเนนถึงหลักวิชาการระหวางผูสอนกับผูเรียน ระบบการ สอน เทคโนโลยีการสอน เชน การสอนในหองเรียน การสอนระบบทางไกล เปนตน
5.8 การสื่อสารสาธารณสุข เปนการสื่อสารที่มุงเนนเนื้อหาในการพัฒนาสุขภาพ พัฒนาคุณภาพของชีวิต ของประชาชน ตลอดจนการแกไขปญหาระบบการสาธารณสุข การเผยแพร โนมนาว ใจใหประชาชน ตระหนักในการพัฒนาสุขภาพพลานามัย

 


Send comments to Chumpot@hotmail.com
Copyright © 2004
Revised:Junr 2004