***เรียนให้สนุกในโลกแห่งสังคมข่าวสาร ไร้ขอบเขต ไร้พรมแดน***


ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น
รศ.จุมพจน์ วนิชกุล/ ผศ.ฟ้อน เปรมพันธ์/ ผศ.วิไลวรรณ สันถวะโกมล/
อาจารย์ราตรี แจ่มนิยม/ อาจารย์นงนุช ถ้วยทอง
โปรแกรมวิชาการศึกษาทั่วไป
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี


คำอธิบายรายวิชา/แนวการสอน
(Course Overview)

สารบัญเนื้อหาวิชา

กิจกรรมการเรียนการสอน

สื่อการสอน

การประเมินผล
(Evaluation)

ตำราประกอบการสอน
(Texts and Materials)

แหล่งทรัพยากรสารนิเทศอื่นๆ
(Other Useful Resources)

แหล่งทรัพยากรเกี่ยวกับ Internet
(Resources about the Internet and Its Tools)

ตำราและวารสารอิเล็กทรอนิกส์
(On-Line Journals and Magazines)

แบบฝึกหัด

เฉลยแบบฝึกหัด

บรรณานุกรม

โน้ตจากผู้สอน


Home

รูปแบบในการสื่อสาร

รูปแบบของการสื่อสารแบงไดกวาง ๆ เปน 2 รูปแบบ คือ การสื่อสารแบบทางเดียว และการ สื่อสารแบบสองทาง การ สื่อสารแบบทางเดียว เปนการสื่อสารที่ผูสงสารและผูรับสารมีบทบาทหนาที่ชัดเจนเพียง บทบาทเดียว คือ ผูสงสารทําหนาที่สง ขอมูลขาวสารอยางเดียว ผูรับสารก็ทําหนาที่รับขอมูลขาวสารเพียง อยางเดียว ไมไดสงขอมูลขาวสารกลับไปอีก เชน การ ปาฐกถาธรรมของพระภิกษุใหประชาชนฟง การสั่ง งานของหัวหนางานกับลูกนอง การฟงสุนทรพจน การฟงวิทยุ การชม-โทร ทัศน การอานหนังสือ เปนตน การสื่อสารแบบสองทาง เปนการสื่อสารที่ผูสงสารและผูรับสาร มีหนาที่บทบาทเทาเทียมกัน มี การสลับบทบาทหนาที่กันไดตลอดเวลา คือ ผูสงสารจะเปลี่ยนสภาพเปนผูรับสารหรือผูรับสารเปลี่ยนสภาพ เปนผูสงสารไดโดย ตลอดของการสื่อสารนั้น เชน การปรึกษาหารือ การถามตอบปญหา การอภิปราย เปนตน การสื่อสารแบบสองทางนี้จะเกิดประ สิทธิภาพในการสื่อสารดีกวาการสื่อสารแบบทางเดียวเพราะการสื่อสาร แบบทางเดียวมีขอเสียที่สําคัญ คือ สารที่ผูรับไดรับมี โอกาสคลาดเคลื่อนได เพราะผูรับไมมีโอกาสซักถามผู สงสารเพื่อทําความเขาใจใหถูกตองนั่นเอง

 


Send comments to Chumpot@hotmail.com
Copyright © 2004
Revised:Junr 2004