ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
โครงการห้องสมุดโรงเรียนในฝัน

***ร่วมสร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาเด็กไทยในท้องถิ่น***


000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลปะ
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

   

สัทศาสตร์และสรวิทยาเบื้องต้น

414
สัทศาสตร์และสรวิทยาเบื้องต้น

ผู้แต่ง: พิณทิพย์ ทวยเจริญ
ชื่อเรื่อง: สัทศาสตร์และสรวิทยาเบื้องต้น

สรุปเนื้อหา

ลักษณะเสียงสั้นยาว ในภาษาไทยเรานั้นความสั้นยาวของเสียงสระมีความสำคัญมากเพราะความสั้นยาวของเสียงเป็นลักษณะเฉพาะตัว ของสระนั้น ๆ และมีหน้าที่ในด้านสรวิทยาด้วย นั่นคือ สระสั้นหรือสระยาวในคำคู่หนึ่ง ๆ จะทำให้ความหมายของคำแตกต่างกันไป เช่น สัน / san / กับ สาน / sa:n / คำคู่นี้มีความแตกต่างกันที่สระสั้นและสระยาวเท่านั้นแต่ความหมายแตกต่างกัน ระดับเสียงสูงต่ำในภาษาไทยมีอยู่ 5 ระดับ คือ 1. เสียงต่ำ (Low tone) เทีบยเท่ากับเสียงเอก เป็นระดับเสียงต่ำ และจะลดลงอีกในตอนท้าย เช่น หมัด สับ เป็นต้น 2. เสียงกลาง (Mid tone) เทียบเท่ากับเสียงสามัญ ส่วระดับเสียงกลางจะลดต่ำลงในตอนท้ายหรือไม่ ขึ้นอยู่กับเจตนาของผู้พูด และลลักษณะของคำที่พูดนั้น เช่น กา บิน เดิน เป็นต้น 3. เสียงทอดลง (Falling tone) เทียบเท่าเสียงโท เป็นเสียงที่เริ่มในระดับสูง และระดับเสียงจะค่อย ๆ ลดต่ำลงจนถึงจุด ในระดับต่ำ เช่น พ่อ แม่ ฝ้าย ป้า เป็นต้น 4. เสียงสูง (High tone) เทียบเท่าเสียงตรี เสียงนั้นตั้งต้นท่ระดับสูง และเสียงจะสูงขึ้นในตอนท้าย เช่น ค้า ล้ม เป็นต้น 5. เสียงลากขึ้น (Rising tone) เยบเท่าเสียงจัตวา เป็นเสียงเริ่มต้นที่ระดับต่ำ แล้วลากท้ายเสียงขึ้นสู่ระดับสูง เช่น ขา หมา สาว เป็นต้น

ที่มา:

พิณทิพย์ ทวยเจริญ.(2521).สัทศาสตร์และ

สรวิทยาเบื้องต้นกรุงเทพฯ:
คุรุสภาลาดพร้าว.

 


Copyright
All copyright rights in the Dewey Decimal Classification system are owned by OCLC. Dewey, Dewey Decimal Classification, DDC and WebDewey are registered trademarks of OCLC
Revised:March 2009


Send comments to Chumpot@hotmail.com