banner.gif
***สร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาท้องถิ่น***

000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลป
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

คำบรรยายวิชาหลักภาษา พ.ม.

495.915
ภาษามลายู

ผู้แต่ง: เฉลิม จันปฐมพงศ์
ชื่อเรื่อง: คำบรรยายวิชาหลักภาษา พ.ม.

สรุปเนื้อหา

ภาษามลายู
ภาษามลายูอยู่ในตระกูลภาษาชวา - มลายู มีลักษณะเป็นภาษาคำติดต่อ โครงสร้างของคำจึงต่างกับภาษาไทย การสร้างคำใหม่จะเอาพยางค์ มาต่อเติมคำทำให้ควาามหมายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมการเติมคำมีทั้งเติมหน้าคำ เติมหลังคำ แต่จะไม่มีคำที่เติมกลางคำ เหมือนภาษาเขมรคำส่วนใหญ่ ในภาษามลายูมีสองพยางค์ และสามพยางค์ แต่คำที่เติมใหม่อาจมีหลายพยางค์เป็นเหตุให้เกิดเสียงหนักเบาเสียงครึ่งเสสียงและเต็มเสียงปะปนกัน เช่น เติมหน้า (prefix)
gali = ขุด
pen + gali = pengali = เครื่องขุด (เสียม)
sapu = ทำความสะอาด กวาด
pen + sapu = pensapu = ไม้กวาด หรือ แปรง เติมหน้าและหลัง (perfix - suffix)
mula = เริ่มต้น
pu + mula + an = permulaan = การเริ่มต้น
rasa = รู้สึก
pe + rasa + an = perasan = ความรู้สึก
ลักษณะของภาษามลายูที่ไทยนำมาใช้
1. ใช้ในท้องถิ่นภาคใต้
2. นำมาใช้พูดจาในชีวิตประจำวัน
3. นำมาใช้ในวรรณคดี
4. คำมลายูกับไทยใกล้กันทั้งเสียงและความหมาย

ที่มา:

เฉลิม จันปฐมพงศ์. (2520). คำบรรยายวิชาหลักภาษา พ.ม.กรุงเทพฯ: ชัยสิริการพิมพ์.

 


Send comments to Chumpot@hotmail.com
Copyright © 2002
Revised:April 2002