|
คำบรรยายวิชาหลักภาษา พ.ม.
492.9111
ภาษาทมิฬ
ผู้แต่ง: เฉลิม จันปฐมพงศ์
ชื่อเรื่อง: คำบรรยายวิชาหลักภาษา พ.ม.
สรุปเนื้อหา
ภาษาทมิฬ
ชนชาติทมิฬ หมายถึงชนชาติที่อยู่เมืองโจฬะทางงอินเดียตอนใต้หรือในเกาะลังกาบางที่เราเรียกว่า พวกสิงหล มีความสัมพันธ์กับบชชชนนชชชชาาตติไทยมาช้านาน
ชื่อจังหววัดในภาคใต้ เช่น พัทลุง ทมิฬเรียกว่า "พัททะละ" และตำบล "ลำปปปำ" ทมมิฬเรียก "สลาปำ" ทั้ง 2 ชื่อนี้เป็นชื่อตำบลที่อยู่ในเมืองสิงหล
บ้าน "ท่าทหมิหรำ" ชื่ออยู่ในตัวเมืองพัทลุงก็น่าจะมาจาก "ทมิฬคราม" ซึ่งแปลว่า นิคามของชาววทมิฬ
"บางงติหรัม" เป็นบ้านที่ตั้งปากน้ำตรังก็น่าจะมาจาก Tiram อ่นว่า theerum แปลว่า ฝังน้ำ
ตัวอย่างภาษาทมิฬที่ใช้ในภาษาไทย
แกงกะหรี่ = Kari อ่านเป็น Kurry
กำมะหยี่ = Kambali = ผ้าขนหนู
สีชมพู่ = Civappu อ่านว่า Shivnppn แปลว่า "สีแดง"
ตานี = Tannir อ่านว่า Thun neer แปลว่า น้ำ, เย็น
วิไล = Vilai = คุณค่า, ราคา
อาจาด = Achad = ผักดอง (บางที่ชาวใต้เรียกว่า อาดจาด)
ยี่หร่า = Jira
สาเก = Sakki
กานพลู = Karampu (กรามปู)
ที่มา: เฉลิม จันปฐมพงศ์. (2520). คำบรรยายวิชาหลักภาษา พ.ม. กรุงเทพฯ: ชัยสิริการพิมพ์.
|
|