ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
โครงการห้องสมุดโรงเรียนในฝัน

***ร่วมสร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาเด็กไทยในท้องถิ่น***


000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลปะ
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

   

การแปลอังกฤษเป็นไทยแนวคิดและวิธีการ

418.02
การแปลอังกฤษเป็นไทยแนวคิดและวิธีการ

ผู้แต่ง: ปรียา อุนรัตน์
ชื่อเรื่อง: การแปลอังกฤษเป็นไทยแนวคิดและวิธีการ

สรุปเนื้อหา

การแปลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. การแปลตามความหมาย หรือ Meaning-based Translation เป็นความพยายามที่จะถ่ายทอดความหมายจากภาษาต้นฉบับให้เป็น ภาษาที่สละสลวยในภาษาที่สอง บางครั้งเราเรียกการแปลเช่นนี้ว่าเป็นการแปลอย่างมีสำนวน หรือ Idiomatic Translation
2. การแปลแบบคำต่อคำเพื่อคง form ของภาษาต้นฉบับไว้นั้นเราเรียกว่า Literal Translation การแปลเช่นนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการ ศึกษา form ของภาษาต้นฉบับ ซึ่งอาจหมายถึงคำ การเรียงลำดับคำ อนุประโยคประโยค ส่วนขยายต่างๆ ทำให้ผู้ที่ศึกษาสามารถเรียนรู้ form ของ ภาษาต้นฉบับได้ อย่างไรก็ตาม การแปลแบบ Literal Translation จะไม่ช่วยในการสื่อความหมายเนื่องจากข้อความที่แปลแล้วไม่เป็นธรรมชาตฺและ ไม่ถูกต้องตามสำนวนการเขียนในภาษาที่สอง
การแปลอาจมีได้หลายระดับตั้งแต่แปลคำต่อคำจริงๆ (Very literal) แปลโดยเอาคำที่คิดว่ามีความหมายเหมือนกันเข้าไปแทนที่(lieral) บางครั้งอาจมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบ้าง แต่ภาษาที่ใช้ก็ยังไม่เป็นธรรมชาตินักเรียกว่าเป็นแบบ modifed literal หรืออาจไปไกลจนถึงขั้น unduly free คือ การแปลข้อความเพิ่มเติมเข้าไปตามใจชอบและทำให้ความหมายของภาษาเปลี่ยนไป ของต้นฉบับเดิม

ที่มา:

ปรียา อุนรัตน์.(2540). การแปลอังกฤษเป็น

ไทยแนวคิดและวิธีการ กรุงเทพฯ:
ดวงกมล.

 


Copyright
All copyright rights in the Dewey Decimal Classification system are owned by OCLC. Dewey, Dewey Decimal Classification, DDC and WebDewey are registered trademarks of OCLC
Revised:March 2009


Send comments to Chumpot@hotmail.com