banner.gif
***สร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาท้องถิ่น***

000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลป
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

กฏหมายกับเศรษฐศาสตร์(LAW AND ECONOMICS)

346
รัฐกับสิทธิในทรัพย์สิน(State and Property Rights)

ผู้แต่ง: ศักดา ธนิตกุล
ชื่อเรื่อง: กฏหมายกับเศรษฐศาสตร์(LAW AND ECONOMICS)

สรุปเนื้อหา

การมีรัฐ(State) ในความหมายของรัฐสมัยใหม่(modern state) ซึ่งหมายถึงรัฐที่มีดินแดน ประชากร อำนาจอธิปไตยเหนือดิน แดนและประชากรเป็นเรื่องสำคัญมากมนระบบการรับรองสิทธิในทรัพย์สิน เพราะรัฐจะเป็นผู้รับรองสิทธิในทรัพย์สินของเอกชน สร้างองค์กรและสถาบันเพื่อป้องกันมิให้เอกชนผู้มีเจ้าของสิทธิมารบกวนขัดขวางจากผู้ไม่มีสิทธิ และหากมีข้อพิพาทเกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สิน
รัฐก็มีสถาบันที่จะตัดสินใจได้ว่าเอกชนใดมีสิทธิดีกว่า รัฐจึงมีความจำเป็นมากในระบบการรับรองสิทธิในทรัพย์สินของเอกชน การรับรองและปกป้องสิทธิในทรัพย์สินของเอกชนโดยรัฐเป็นเรื่องสำคัญมากต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นในเชิงเกษตรกรรม การค้าอุตสาหกรรมตัวอย่างเช่น เป็นที่ยอมรับกันว่าความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและโดดเด่นมากของประเทศเนเธอร์แลนด์โดยเฉพาะเมือง อันท์เวิร์ป(Antwerp) นั้นเกิดจากรัฐเนเธอร์แลนด์ยอมรับสิทธิในทรัพย์สินของเอกชนให้กับเอกชนอย่างเต็มที่และจริงจังนั้นเอง

ที่มา:

ศักดา ธนิตกุล.( 2544). กฏหมายกับ

เศรษฐศาสตร์ (LAW AND ECONOMICS).
กรุงเทพฯ : นิติธรรม.

 


Send comments to Chumpot@hotmail.com
Copyright © 2002
Revised:April 2002