|
005 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตัวโปรแกรม ข้อมูล
005.1การเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมประยุกต์
วิศวกรรมซอฟต์แวร์
005.101 ปรัชญาและทฤษฎีการเขียนโปรแกรม
005.11 เทคนิคการเขียนโปรแกรมฉพาะชนิด
005.112 การเขียนโปรแกรมส่วนจำเพาะ
(Modular programming)
005.113 การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง
(Structured programming)
005.114 การเขียนโปรแกรมฟังก์ชัน
(Functional programming)
005.115 การเขียนโปรแกรมตรรกะ
(Logic programming)
005.117 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจุดหมาย
(Object-oriented programming)
005.118 การเขียนโปรแกรมภาษาภาพ
(Visual programming)
005.12 การวิเคราะห์ระบบซอฟต์แวร์
การออกแบบระบบซอฟต์แวร์
005.13 ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม
005.131 ภาษาโปแกรมที่เป็นสัญลักษณ์ตรรกศาสตร์
ทางคณิตสาสตร์
005.133 ภาษาโปรแกรมเฉพาะชนิด
005.136 ภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี
005.14 การทวนสอบ การทดสอบ
การประเมิน การแก้ไขจุดบกพร่องของโปรแกรม
005.15 การเตรียมเอกสารโปรแกรม
005.16 การบำรุงรักษาโปรแกรม การบำรุงรักษาซอฟต์แวร์
005.2 การเขียนโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์เฉพาะชนิด
การเขียนโปรแกรมสำหรับระบบปฏิบัติการเฉพาะชนิด
การเขียนโปรแกรมสำหรับการประสานกับผู้ใช้
005.21 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เชิงตัวเลขระดับยิ่งใหญ่
005.22 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เชิงตัวเลขระดับใหญ่
005.24 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เชิงตัวเลขระดับเล็ก
005.26 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เชิงตัวเลขระดับเล็กมาก
005.262 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาโปรแกรมเฉพาะชนิด
เช่น ภาษาซี (C++)
005.265 การเขียนโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์เฉพาะยี่ห้อหรือรุ่น
เช่น IBM PC
005.268 การเขียนโปรแกรมสำหรับระบบปฏิบัติการเฉพาะยี่ห้อ
เช่น OS/2
005.269 การเขียนโปรแกรมสำหรับการประสานกับผุ้ใช้เฉพาะกลุ่ม
เช่น ไมโครซอฟต์ วินโดวส์
005.27 การเขียนโปรแกรมสำหรับการประมวลผมข้อมูล
005.273 การเขียนโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์ที่
ประมวลผลข้อมูลแบบทันที
005.274 การเขียนโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์มัลติโพรเซสเซอร์
005.276 การเขียนโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผล
ข้อมูลแบบกระจาย
005.28 การเขียนโปรแกรมสำหรับระบบปฏิบัติการเฉพาะชนิด
และสำหรับการประสานกับกลุ่มผู้ใช้
โดยไม่จำกัดว่าป็นคอมพิวเตอร์แบบใด
005.284 การเขียนโปรแกรมสำหรับการประสานกับผู้ใช้เฉพาะกลุ่ม
005.29 การเขียนโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์แบบผสม
005.3 โปรแกรม ชุดคำสั่ง ซอฟต์แวร์ เฟิร์มแวร์
005.30218 มาตรฐานต่างๆของตัวโปรแกรม
005.30287 การทดสอบ การวัดโปรแกรม
005.30296เอกสารแนะนำสำหรับผู้ซื้อ
รายงานผลการใช้โปรแกรมของผู้ใช้โปรแกรม
005.31 โปรแกรมที่ใช้กับคอมพิวเตอร์เชิงตัวเลขระดับใหญ่มาก
(Digital supercomputer)
005.32 โปรแกรมที่ใช้กับคอมพิวเตอร์เชิงตัวเลขระดับใหญ่
(Digital mainframecomputer)
005.34 โปรแกรมที่ใช้กับคอมพิวเตอร์เชิงตัวเลขระดับเล็ก
(Digital minicomputer)
005.36 โปรแกรมที่ใช้กับคอมพิวเตอร์เชิงตัวเลขระดับเล็กมาก
(Digital microcomputer)
005.362 โปรแกรมที่ใช้ภาษาโปรแกรมเฉพาะชนิด เช่น ภาษาเบสิก
005.365 โปรแกรมที่ใช้กับคอมพิวเตอร์เฉพาะยี่ห้อ เช่น IBM PC
005.368 โปรแกรมที่ใช้กับระบบปฏิบัติการเฉพาะยี่ห้อ
และที่ใช้กับการประสานผู้ใช้เฉพาะกลุ่ม
005.3682 โปรแกรมที่ใช้กับระบบปฏิบัติการเฉพาะยี่ห้อ เช่น MS-DOS
005.3684 โปรแกรมที่ใช้กับการประสานผู้ใช้เฉพาะกลุ่ม
เช่น Microsoft Windows
005.369 โปรแกรมเฉพาะต่างๆ เช่น Lotus 1-2-3
005.37 โปรแกรมสำหรับระบบการประมวลผลข้อมูลเฉพาะชนิด
005.373 โปรแกรมสำหรับระบบคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลข้อมูลแบบทันที
005.375 โปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์มัลติโพรเซสเซอร์
005.376 โปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย
005.38 โปรแกรมสำหรับระบบปฏิบัติการเฉพาะยี่ห้อ
และสำหรับการประสานกับผู้ใช้เฉพาะกลุ่มที่ใช้
คอมพิวเตอร์ซึ่งไม่จำกัดว่าเป็นแบบใด
005.382 โปรแกรมสำหรับระบบปฏิบัติการเฉพาะยี่ห้อ
เช่น ยูนิกซ์(Unix)
005.384 โปรแกรมสำหรับการประสานกับผู้ใช้เฉพาะกลุ่ม
เช่น โปรแกรม Motif
005.39 โปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์แบบลูกผสม และคอมพิวเตอร์แอนะล็อก
005.4 การเขียนโปรแกรมระบบ ตัวโปรแกรม
005.42 การเขียนโปรแกรมระบบ
005.424 การเขียนโปรแกรมการจัดการกระบวนการ
005.425 การเขียนโปรแกรมการจัดการหน่วยความจำ
005.426 การเขียนโปรแกรมการจัดการระบบแฟ้มข้อมูล
005.428 การเขียนโปรแกรมการจัดการสำหรับการประสานกับผู้ใช้
005.43 โปรแกรมระบบ ระบบปฏิบัติการ
005.434 โปรแกรมการจัดการกระบวนการ
005.435 โปรแกรมการจัดการหน่วยความจำ
005.436 โปรแกรมการจัดการระบบแฟ้มข้อมูล
005.437 โปรแกรมการจัดการสำหรับการประสานกับผู้ใช้
005.438 โปรแกรมการจัดการสำหรับการประสานกับผู้ใช้เฉพาะกลุ่ม
โดยไม่คำนึงว่าเป็นคอมพิวเตอร์แบบใด
| |