คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏกาญจนบุรี
Faculty of Humanities and Social Sciences
Rajabhat Institute Kanchanaburi

แนะนำคณาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

    รายนาม


    รองศาสตราจารย์จุมพจน์ วนิชกุล


    วัน เดือน ปี เกิด 24 กุมภาพันธ์ 2492
    ภูมิลำเนา บ้านเลขที่ 119-120 หมู่ 1 ตำบลบางวัว อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา


    การศึกษา
    ระดับประถมศึกษา
    จบชั้นประถมศึกษา 1-3 จากโรงเรียนมารดานฤมล อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
    จบชั้นประถมศึกษา 4 จากโรงเรียนเทศบาลเบญจมบพิตร อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร

    ระดับมัธยมศึกษา
    จบชั้นมัธยมศึกษา (ม.1-ม.6 และ ม.ศ.4-5 แผนกวิทยาศาสตร์)
    จากโรงเรียนวัดเบญจมบพิตร อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2511


    ระดับอุดมศึกษา
    จบระดับ ป.กศ.สูง(วิชาเอก ภาษาอังกฤษ วิชาโท ภาษาไทย และสังคมศึกษา) จากวิทยาลัยครูจันทรเกษม พ.ศ.2513
    จบระดับ กศ.บ.(วิชาเอก ภาษาอังกฤษ วิชาโท ชีววิทยา) จาก วิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม พ.ศ.2515
    จบระดับ ป.สูง(บรรณารักษศาสตร์) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2517
    จบระดับ อ.ม.(บรรณารักษศาสตร์) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2520
    จบระดับ ป.บัณฑิต(บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2532
    Cert. in Library Automation (San Jose State University), USA, 1996.


    การทำงาน
    พ.ศ.2516-2517 เป็นบรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน ธนาคารศรีนคร สาขาสามแยก และ สาขาถนนเพชรบุรีตัดใหม่
    พ.ศ.2517 เป็นบรรณารักษ์ห้องสมุดวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ
    พ.ศ.2517-2523 เป็นผู้สื่อข่าวและบรรณารักษ์หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น และ ประชาชาติรายสัปดาห์
    พ.ศ.2523 - รับราชการครูสังกัดภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะวิชามนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ วิทยาลัยครูกาญจนบุรี
    พ.ศ. 2525 - 2526 และ พ.ศ. 2533 - 2540 เป็นหัวหน้าฝ่ายหอสมุด วิทยาลัยครูกาญจนบุรี
    พ.ศ. 2540 - ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏกาญจนบุรี

    ประสบการณ์
    พ.ศ.2518 เป็นตัวแทนสื่อมวลชนได้รับเชิญจากประเทศมาเลย์เซีย ดูงานเกี่ยวกับการศึกษา และการรักษาความสะอาด
    พ.ศ.2520 เป็นตัวแทนสื่อมวลชนจากประเทศไทยเพียงคนเดียว เข้าร่วมการประชุมประจำปี ขององค์การยูนิเซฟ ณ กรุงมนิลา ประเทศฟิลิปปินส์
    พ.ศ. 2537 ศึกษาดูงาน ณ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียแห่งลอสแองเจลิส (UCLC) ประเทศสหรัฐอเมริกา
    พ.ศ. 2538 ศึกษาดูงานการศึกษามหาวิทยาลัยในประเทศมาเลย์เซีย และ ประเทศสิงคโปร์
    พ.ศ. 2539 เข้ารับการอบรมวิชาห้องสมุดอัตโนมัติ ณ มหาวิทยาลัยซานโฮเซ ประเทศสหรัฐอเมริกา
    พ.ศ. 2542 เข้าร่วมการประชุมบรรณารักษ์นานาชาติ (IFLA) ครั้งที่ 65
    พ.ศ. 2544 ศึกษาดูงานห้องสมุดในมหาวิทยาลัยเอกชน ประเทศเกาหลีใต้


    ตำแหน่งทางวิชาการ
    ได้รับตำแหน่งทางวิชาการเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์เมื่อ พ.ศ.2530
    ได้รับตำแหน่งทางวิชาการเป็นรองศาสตราจารย์เมื่อ พ.ศ.2533


    กิจกรรมทางวิชาการ
    ผู้ตรวจผลงานทางวิชาการของกรมการฝึกหัดครู
    กรรมการตรวจวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    กรรมการตรวจวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    กรรมการตรวจวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
    กรรมการตรวจวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏกาญจนบุรี
    กรรมการบริหารของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย
    ประธานคณะกรรมการพัฒนาสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏ


    ผลงานการเขียน
    หนังสือ
    จุมพจน์ วนิชกุล. การจัดหมู่หนังสือระบบดิวอี้. กาญจนบุรี : คณะวิชา

    --------. การวิจัยบทบาทของระบบสารนิเทศทางวิชาการแห่งชาติ --------. ความรู้เบื้องต้นทางสารนิเทศศาสตร์. กาญจนบุรี : คณะวิชา --------. บริการของห้องสมุด. กาญจนบุรี : คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ --------. ห้องสมุดประชาชน. กาญจนบุรี : คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ --------. เอกสารคำสอนวิชา 2632203 วิเคราะห์เลขหมู่ 1. กาญจนบุรี : คณะวิชา --------. เอกสารประกอบการสอนวิชาบรรณ 101 ห้องสมุด จุมพจน์ วนิชกุลและคนอื่นๆ. ห้องสมุดและการค้นคว้า. กาญจนบุรี : คณะวิชา --------. ห้องสมุดและการศึกษาค้นคว้า กรุงเทพมหานคร :
    หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
    จุมพจน์ วนิชกุล. (2544). การจัดการข้อมูลและศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2544, --------. (2544). การจัดการฐานข้อมูล. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2544, --------. (2544). การจัดหมู่ 2. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2544, --------. (2544). การเผยแพร่สารนิเทศด้วยเทคโนโลยีสารนิเทศ. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2544, --------. (2544). ความรู้เบื้องต้นทางบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, --------. (2544). คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2544, --------. (2544). ธุรกิจสิ่งพิมพ์. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2544, --------. (2544). บริการอ้างอิงและสารสนเทศ. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2544, --------. (2544). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2544, --------. (2544). ห้องสมุดประชาชน. ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2544,
    บทความในหนังสือ
    จุมพจน์ วนิชกุล."กาญจนบุรี, สถาบันราชภัฏ" ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 1, --------. "การเขียนรายการอ้างอิง."ใน คู่มือการเขียนผลงาน --------."การบริการและเผยแพร่สารนิเทศ." ใน เอกสารการประชุม สัมมนา --------. "การจัดหาเอกสารข้อมูล." กรุงเทพมหานคร : ศูนย์เอกสาร --------."เขาแหลม, เขื่อน." ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 2 , หน้า 726 -727. --------."พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ --------."ศรีนครินทร์, เขื่อน." ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 13 , หน้า 6151-6154.


    บทความในวารสารและหนังสือพิมพ์
    จุมพจน์ วนิชกุล. "การบริการห้องสมุดเพื่อการรู้หนังสือในประเทศไทย." แควใหญ่

    --------."ข้อมูลเรื่องเขื่อนน้ำโจน : รัฐบาลตัดสินใจอย่างไร." มติชน --------."ข้อมูลเรื่องเขื่อนน้ำโจน ข้อมูลชั้นดีของฝ่ายสร้าง ?" มนุษยศาสตร์ --------."ข้อมูลเรื่องเขื่อนน้ำโจน สิ่งที่ประชาชนควรรู้." แควใหญ่ 5:2 --------."บรรณานุกรมข้อมูลเรื่องเขื่อนนำโจนเพื่อการวิจัย." ข่าวสารการวิจัย --------."สนเทศสังคม." ข่าวสารประชาสัมพันธ์แควใหญ่ 1(ภาคเรียนที่1 --------."การบริการห้องสมุดเพื่อการรู้หนังสือในประเทศไทย." แควใหญ่ --------."ความเป็นมาของการจัดดำเนินงานภาพในประเทศไทย." วารสาร ห้องสมุด --------."ธุรกิจบริการสารนิเทศเชิงพาณิชย์." แควใหญ่ 9:1 --------."แนะนำหนังสือและผลงานวิจัยในห้องสมุดวิทยาลัยครูกาญจนบุรี." ข่าวสาร --------."สภาพการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนของกรมการศึกษานอกโรงเรียน --------."ความทรงจำที่ยากจะลืม." มนุษย์สาร7:1(กันยายน 2528) :32-38. --------."เหตุการณ์สะพานข้ามแม่น้ำแคว." แควใหญ่ 5:1(กันยายน 2530) : จุมวนิช พจนกุล. "ระบบสารนิเทศแห่งชาติ : รัฐบาลกระตือรือร้นแค่ไหน." --------."สื่อข้อมูล : ที่มาแห่งการตัดสินใจของผู้บริหาร." กรุงเทพธุรกิจ --------."อำนาจข้อมูล." กรุงเทพธุรกิจ(17 พฤศจิกายน 2532) : 4.
    บทความแปล
    จุมพจน์ วนิชกุล. "มาหาเวลาอ่านหนังสือกันเถอะ." แปลจาก --------."ความทรงจำที่ยากจะลืม." แปลจาก How do you forget the unforgettable
    บทความภาษาอังกฤษ
    Chumpot Wanichagul. "Profit ... and the education business." --------."With a little help from Mao." The Voice of the Nation --------."Fight the filth." The Voice of the Nation --------."Knowledge through books at the wats." The Voice of the --------."Introducing the nation's new education plan." --------."Fame comes to young amatuer Thai artist." The Nation --------."What being done about our education policy." --------."Fame has changed Prateep's life-style." The Nation Review --------."Non-formal education to help Thailand read and write."

หน้าสารบัญ