1633201 การจัดหมู่ 2
Classification 2

2 (2-1)


ประวัติหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน 1800-1992
A Brief history of the Library of Congress

การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เป็นระบบที่ใช้ตัวอักษร และตัวเลข เป็นสัญลักษณ์แทนเนื้อหาวิชาของหนังสือประวัติความเป็นมาของระบบหอสมุด รัฐสภาอเมริกันมีดังนี้

ในปี ค.ศ. 1800 ได้มีการจัดตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยใช้ระบบจัดแยก หนังสือตามขนาดแล้วจัดเรียงตามเลขทะเบียน ต่อมาเจฟเฟอร์สันเชื่อในพลังทางปัญญา จึงได้สร้างอิสระภาพประชาธิปไตยทางสังคมขึ้นซึ่งเขากล่าวว่าในการดำเนินชีวิตนั้นจะ อยู่โดยที่ปราศจากหนังสือไม่ได้จึงได้นำโอกาสช่วงที่เขาเป็นประธานธิบดีสหรัฐอเมริกา มาพัฒนาห้องสมุด ในปี ค.ศ. 1801-1809 ค.ศ. 1812 มีการจัดเรียงหนังสือตามเนื้อหา โดยแบ่งเป็น 18 หมวด ซึ่งคล้ายกับระบบของเบคอนและคาลอมแบร์ (Bacon and D'Alembert) ที่ใช้อยู่ในห้องสมุดบริษัทของเบนจามินแฟรงคลินที่เมืองฟิล เคลเฟีย

เมื่อ พ.ศ. 1789 ในปี ค.ศ. 1814 ทหารอังกฤษได้เผาตึกรัฐสภาหนังสือทั้งหมด ที่มีอยู่ในตึกหลังนั้นถูกไฟไหม้หมด ทำให้ต้องเริ่มสร้างห้องสมุดใหม่อีกครั้งหนึ่ง ในคราวนี้ประธานาธิบดีโทมัส เจฟเฟอร์สัน ได้เสนอขายห้องสมุดส่วนตัวให้กับรัฐสภา ซึ่งมีหนังสือในสาขาที่เหมาะสมกับห้องสมุด รัฐสภาที่สร้างขึ้นใหม่รัฐสภาได้อนุมัติให้ ซื้อหนังสือจำนวน 6,487 เล่มในราคา 23,940 ดอลล่าร์สหรัฐ เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1815 ฉะนั้นหนังสือชุดนี้จึงเป็นจุดเริ่มต้นของห้องสมุดรัฐภาอเมริกันอีกครั้งหนึ่ง ค.ศ. 1849 กฎหมายลิขสิทธิ์กำหนดให้ผู้พิมพ์และสำนักพิมพ์ส่งสิ่งพิมพ์ให้หอสมุด รัฐสภาอเมริกันทำให้จำนวนหนังสือเพิ่มมากขึ้นการขยายหอสมุดรัฐสภาอเมริกันได้ ดำเนินการสร้างห้องสมุดขึ้นใหม่ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1886 สร้างโดยสถาปนิก ช่าง ศิลปินจิตรกรและคนงาน ซึ่งอยู่เป็นส่วนหนึ่งของตึกรัฐสภาในปัจจุบันนี้

การก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดให้ใช้ในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1897 มีหนังสือ ที่จัดเข้าห้องสมุดทั้งหมดประมาณ 8 ร้อยตัน มีหนังสือเล่มเล็ก แผนที่ เอกสาร พิมพ์ ม้วนเพลงและวัตถุอื่น ๆ อีกมีบรรณารักษ์ประจำหอสมุด คือ จอห์น รัสเชล ยังก์ (John Russel Young) มอบหมายให้เจมส์ ซี.เอ็ม.แฮนสัน (James C.M.Hanson)หัวหน้าฝ่ายทำบัตรรายการ และชาร์ลส์ มาร์เตล (Charles Martel) หัวหน้าบรรณารักษ์ฝ่ายจัดหมู่ศึกษาระบบใหม่ สำหรับจัดหมู่หนังสือ ทั้ง 2 คน ได้ศึกษาระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมของดิวอี้ ระบบ Expansive Classification ของ Charles Ammi Cutter และระบบเยอรมัน Helle Sehem ของ Otto hartwig ใน ค.ศ. 1898

บรรณารักษ์หลายคนมีความเห้นว่าควรสร้างระบบใหม่ โดยยึดหลักระบบ Cxpansive Classification แบ่งเป็น 20 หมวด ใช้ตัวอักษร A-Z เป็นสัญลักษณ์ยกเว้น I,O,W,X และ Y หมวดแรกที่เริ่มจัดทำ คือ หมวด Z โดยชาร์ลส์ มาร์เตล เป็นผู้รับผิดชอบ ต่อมา ค.ศ. 1899 เฮอร์เบอร์ต พุทนัม (Herbert Putnam) บรรณารักษ์คนใหม่สนับสนุนการจัดหมู่ระบบนี้นับเป็นการเริ่มต้นของการจัดหมู่ระบบ หอสมุดรัฐสภาอเมริกันที่ใช้อยู่ในปัจจุบันและต่อมามีการพิมพ์บัตรรายการออกจำหน่าย ทั่วโลกหลังจากได้ทำการจัดหมู่แต่ละหมวดแล้วระยะหนึ่งก็ได้มีการปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติมอย่างสม่ำเสมอ แต่ไม่ได้จัดทำพร้อมกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการเพิ่มจำนวนและ การแก้ไขเลขหมู่ของแต่ละหมวดรายละเอียดเกี่ยวกับครั้งที่พิมพ์ของแต่ละหมวด จะปรากฎอยู่ในเรื่องที่ว่าด้วยการพัฒนาระบบการจัดหมู่หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน

ในปี ค.ศ. 1913 หอสมุดมุ่งที่จะจัดสถานที่พิมพ์หนังสือให้มีลายนูนไว้สำหรับคนพิการ และในปี 1931 มีการจัดตั้งเงินไว้เปิดพิเศษในการจัดหาหนังสือสำหรับคนพิการมาให้บริการ ในปี ค.ศ. 1943 ครบรอบ 200 ปี แมคริชได้รำลึกถึงเจฟเฟอร์สันจึงได้จัดทำบัญชีหนังสือ ที่มีคำอธิบายประกอบของเจฟเฟอร์สันมาจัดทำในรูปของบรรณานุกรม โดยมี อี มิวไอเซน โซเวอบายเป็นผู้รับรอง (ทั้งหมด 5 เล่ม, 1952-59)รวมทั้งได้ให้ความสนใจในระหว่าง ที่เขายังเป็นบรรณารักษ์ที่หอสมุดรัฐสภาอเมริกันที่ทำให้มีความสัมพันธ์ระหว่างนักเขียน และนกัวิชาการที่ยืนนาน ซึ่งนักเขียนและนักวิชาการเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีผลประโยชน์ มากต่อแมคริชในเรื่องที่ทำให้ห้องสมุดนั้นมีความเจริญก้าวหน้าในเรื่องของการบริหาร มามากว่าตลอดระยะเวลา 30 ปี

แมคริชเป็นบรรณารักษ์จนถึงปี 1944 และในปี 1945 ได้เฮอรี่ เทอแมน ผู้ช่วยบรรณารักษ์และรุธเธอเอชอีเว่น เป็นบรรณารักษ์ด้านวิชาการ อีเว่นให้บริการจนถึงปี 1953ซึ่งในระหว่างที่เขาได้ทำงานอยู่นั้นเขาได้เสนองบประมาณ เพื่อขยายห้องสมุดและให้บริการในปี 1947 ในปี 1945 ห้องสมุดซื้อหนังสือ 5 พันเล่มและ รายการที่รวบรวมภาาาอาหรับไว้ด้วยจากห้องสมุดส่วนตัวของเจ้าอาหรับมูฮัมหมัด อิหมั่นแมนซูริ ในปีนี้รุธเธอ เอว อีเว่นดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าบรรณารักษ์ประจำ หอสมุดรัฐสภาอเมริกันอยู่ ซึ่งเขาได้ตั้งห้องสมุด "คณะทูตในยุโรป"และเอาแบบอย่าง การทำรายการของยุโรปมาพิมพ์จำหน่ายในช่วงสงคราม ในปี 1947 คณะทูตญี่ปุ่นประจำ หอสมุดรัฐสภาอเมริกันได้แนะนำการสรัางห้องสมุด อาหารประจำชาติซึ่งอีเว่นเชื่อถือในเรื่อง ทางวัฒนธรรมในปี 1957 หอสมุดรัฐสภาอเมริกันได้รับเงินจากสหพันธ์รัฐมาพัฒนา การศึกษา บรรณารักษ์และเรื่องการสืบค้น ปี ค.ศ. 1958 มีการให้อำนาจแก่รัฐสภา เข้าถือสิทธิ์ในเรื่องของหนังสือคณิตศาสตร์การขยายการเกษตรและให้มีการช่วยเหลือ ตามพระราชบัญญัติ 1954 ข้อที่ 480 และได้ตั้งเงินไว้เป็นพิเศษเพื่อจัดตั้งห้องสมุด ที่ศูนย์กลางในกลางกรุงนิวเคลลี และชีโร ซึ่งก็ได้มีการจัดชื่อโฆษณาและเผยแพร่ไปทั่ว สหรัฐ

ในปี ค.ศ. 1965 เรนดอน บี จอหน์สัน ได้รับรองหัวเรื่อง IIC แล้วว่าให้เป็น พระราชบัญญัติการศึกษา ปี ค.ศ. 1965 และให้อำนาจห้องสมุดในการเข้าถือสิทธิ์ ปัจจุบัยห้องสมุดได้จัดการข้อมูลรายการมาไว้ในห้องสมุดสำนักงานห้องสมุด ต่างประเทสเข้าถือสิทธิ์ในเรื่องของรายการและเปิดใช้แคตตาล็อค (NPAC) ที่กรุงลอนดอนในปี 1966 บัญชีบรรณานุกรมมาตรฐานจำเป็นที่จะต้องให้ต่างชาติ จัดทำซึ่งห้องสมุดรัฐสภาอเมริกันได้สร้างหนังสือรายการ MARC ให้อยู่ในรูปแบบ ข้อมูลบรรณานุกรมที่สามารถจะสื่อสารไปได้โดยการใช้เครื่องจักรอ่านปัจจุบัน โลกทรรศ์กว้างไกลอาจจะเป็นไปได้ที่จะนำ MARC มาใช้ให้เป็นประโยชน์ และ MARC จะกลายเป็นโครงร่างที่มาตรฐานระดับชาติในปี 1971และเป็นมาตรฐาน ระดับนานาชาติในปี 1973

ในปี ค.ศ. 1967 หอสมุดรัฐสภาอเมรกันเริ่มมีผู้นำโครงการ "เทคนิคศึกษา" เพื่อป้องกันไม่ให้หนังสือเสื่อมลง หรือขาดง่ายด้วยเหตุของเรื่องกระดาษ ไม่ดี ซึ่งคณะบริหารนั้นกำลังพยายามที่จะรักษาคิดค้นวิธีใหม่ ๆ ในการผลิตหนังสือ เพื่อให้มีความคงทนมากขึ้น มันฟอร์ดเป็นบรรณารักษ์นอกราชการในปี 1975 ได้เลือก จีเรด อา ฟอร์ด ส่วนดนัย เจ บรอสตินเป็นผู้นำพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐสภาอเมริกันมีบรรณารักษ์ทั้งหมด 12 คน บรอสตินได้จัดสร้างงบประมาณประจำปีไว้ คือ ในปี 1975 จำนวน 116$ ในปี 1985 จำนวน 250$ เขานั้นได้ให้ความสนใจมากในเรื่อง ของลิขสิทธิ์; ในหนังสือและสนับสนุนการอ่าน , ในเรื่องของมัลติมีเดี่ย (Multi-Media) สารานุกรม เขาตัดสินใจถอนตัวในการเป็นบรรณารักษ์ ในปี ค.ศ. 1987 ซึ่งผู้ที่รับช่วง ต่อจากบรอสติน คือ เจมส์ บริวลิงตัน และได้เสนอโลแนลเอแกนเป็นบรรณารักษ์ประจำ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1988 บลิวลิงตันให้งบประมาณ 12% ในการช่วยเหลือห้องสมุด และให้ริเริ่มให้อยู่ภายใต้เงื่อนไขของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในปี 1991

ปัจจุบันบลิวริงตันได้พัฒนาห้องสมุดให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์เพื่อทำให้ ห้องสมุดรัฐสภาอเมริกันนั้นเป็นห้องสมุดที่ดีที่สุดในระดับโลก

หน้าสารบัญ